MU-SDGs Case Study* |
โครงการเจลแอลกอฮอล์สมุนไพรใบขลู่ต้านโควิดด้วยมือเรา |
|||||||||
ผู้ดำเนินการหลัก* |
นายศุภณัฎฐ์ พูลสวัสดิ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน |
ส่วนงานหลัก* |
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
|||||||
ผู้ดำเนินการร่วม |
คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน |
ส่วนงานร่วม |
– |
|||||||
เนื้อหา* |
จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในพื้นที่ชุมชนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และคนในชุมชนมีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข และอุปกรณ์ป้องกันเชื้อไวรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจลแอลกอฮอล์ (Hand Sanitizer) ซึ่งถือได้ว่าการล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์นั้นเป็นหนึ่งในวิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ได้ดี แต่พบว่าเจลแอลกอฮอล์นั้นเป็นสินค้าขาดตลาดทำให้หาซื้อในชุมชนได้ค่อนข้างยากและมีราคาที่ค่อนข้างสูง ซึ่งปัญหาดังกล่าวย่อมเกิดผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชนตามมา
ดังนั้น นายศุภณัฎฐ์ พูลสวัสดิ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit: PCU) คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลคลองท่อม ร้านคลองท่อมเภสัช ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “เจลแอลกอฮอล์สมุนไพรใบขลู่ต้านโควิดด้วยมือเรา” ณ ชุมชนบ้านในควน ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาจึงดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และ อสม. ในการใช้แรงสนับสนุนทางสังคมทั้งการให้ข้อมูลผ่านการให้ความรู้ รวมไปถึงการสนับสนุนทางด้านอารมณ์ด้วยการให้กำลังใจ คลายความกังวลเรื่องการป้องกันตนเองในสถานการณ์การแพร่ระบาด และร่วมกันผลิตเจลแอลกอฮอล์ที่ผสมสารสกัดจากใบขลู่ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นของชุมชน โดยเจลแอลกอฮอล์ดังกล่าวนั้นจะลดการระคายเคืองและช่วยถนอมผิวของผู้ใช้ อีกทั้งคนในชุมชนยังสามารถผลิตเจลแอลกอฮอล์ใช้ได้เองและสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย
ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต |
|||||||||
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม* |
SDGs 3 |
เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก* |
3.8 |
|||||||
SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง |
– |
เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ |
– |
|||||||
Links ข้อมูลเพิ่มเติม * |
https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1285293418625850/?d=n |
|||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง |
||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง |
||||||||||
MU-SDGs Strategy* |
ยุทธศาสตร์ที่ 3 |
|||||||||
Partners/Stakeholders* |
1. โรงพยาบาลคลองท่อม อ.คลองท่อม จ.กระบี่ 2. หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลคลองท่อม อ.คลองท่อม จ.กระบี่ 3. คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลคลองท่อม อ.คลองท่อม จ.กระบี่ 4. ร้านคลองท่อมเภสัช อ.คลองท่อม จ.กระบี่ 5. ผู้นำชุมชน ชุมชนบ้านในควน ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ 6. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ชุมชนบ้านในควน ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ |
|||||||||
ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)* |
|
|||||||||
Key Message* |
การลดโอกาสเสี่ยงในการแพร่เชื้อโควิด-19 ในชุมชนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการให้แรงสนับสนุนทางสังคม และร่วมกันผลิตเจลแอลกอฮอล์ที่ผสมสารสกัดจากใบขลู่ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นของชุมชน เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี |
|||||||||
ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง |
3.3.1, 3.3.2 |
Author: admin
โครงการกระเป๋าตอบคำถามยอดฮิต with covid vaccine
MU-SDGs Case Study* | โครงการกระเป๋าตอบคำถามยอดฮิต with covid vaccine | |||||||||||
ผู้ดำเนินการหลัก* | นายประชารักษ์ ชาลีนิวัฒน์นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานหลัก* | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |||||||||
ผู้ดำเนินการร่วม | คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานร่วม | – | |||||||||
เนื้อหา* | จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า คนในชุมชนนั้นยังไม่มีความมั่นใจในการมาฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เนื่องจากยังขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีน และอาการข้างเคียงของการฉีดวัคซีน รวมไปถึงการมีเจตคติทางด้านลบต่อการฉีดวัคซีนดังกล่าว ซึ่งการไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 นั้นย่อมส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ และเศรษฐกิจตามมา
ดังนั้น นายประชารักษ์ ชาลีนิวัฒน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับเทศบาลตำบลทัพทัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองหญ้าปล้อง และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “กระเป๋าตอบคำถามยอดฮิต with covid vaccine” ณ ชุมชนหมู่บ้านหนองหญ้าปล้อง ต.ทัพทัน อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข และ อสม. ในการสร้างเสริมความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนและอาการข้างเคียงของการฉีดวัคซีนผ่านการใช้กระเป๋าที่บรรจุคำถามที่ถูกถามบ่อย ๆ (Frequently Answered Questions: FAQ) รวมไปถึงการสร้างเจตคติที่ดีต่อการฉีดวัคซีนผ่านการพูดคุยกับคนในชุมชนอย่างเป็นกันเองจนทำให้อัตราการได้รับวัคซีนของคนในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต | |||||||||||
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม* | SDGs 3 | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก* | 3.8 | |||||||||
SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง | – | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ | – | |||||||||
Links ข้อมูลเพิ่มเติม * | https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283982558756936/?d=n | |||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||
MU-SDGs Strategy* | ยุทธศาสตร์ที่ 3 | |||||||||||
Partners/Stakeholders* | 1. เทศบาลตำบลทัพทัน อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองหญ้าปล้อง ต.ทัพทัน อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี 3. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ชุมชนหนองหญ้าปล้อง ต.ทัพทัน อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี | |||||||||||
ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)* | ||||||||||||
Key Message* | การเพิ่มอัตราการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ในผู้ที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการให้ความรู้ และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับวัคซีนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี | |||||||||||
ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง | 3.3.1, 3.3.2 |
โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส COVID-19 เชิงรุก
MU-SDGs Case Study* |
โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส COVID-19 เชิงรุก |
||||||||
ผู้ดำเนินการหลัก* |
นายธาดา คณาภรณ์ทิพย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน |
ส่วนงานหลัก* |
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
||||||
ผู้ดำเนินการร่วม |
คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน |
ส่วนงานร่วม |
– |
||||||
เนื้อหา* |
จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า คนในชุมชนนั้นยังไม่มีความมั่นใจในการมาฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เนื่องจากยังขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีน และอาการข้างเคียงของการฉีดวัคซีน รวมไปถึงการมีเจตคติทางด้านลบต่อการฉีดวัคซีนดังกล่าว ซึ่งการไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 นั้นย่อมส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ และเศรษฐกิจตามมา
ดังนั้น นายธาดา คณาภรณ์ทิพย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลโพสะ ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “ส่งเสริมการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส COVID-19 เชิงรุก” ณ ชุมชนบ้านวัดนก ต.โพสะ อ.เมืองอ่างทอง จ.อ่างทอง ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ในการสร้างเสริมความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนและอาการข้างเคียงของการฉีดวัคซีนให้แก่คนในชุมชนที่ยังไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ผ่านการบรรยาย อีกทั้งยังสร้างเสริมให้คนในชุมชนมีเจตคติที่ดีต่อการฉีดวัคซีนดังกล่าวผ่านการพูดคุยกับคนในชุมชนอย่างเป็นกันเองจนทำให้คนในชุมชนมีแนวโน้มในการรับวัคซีนเพิ่มมากขึ้น
ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต |
||||||||
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม* |
SDGs 3 |
เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก* |
3.8 |
||||||
SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง |
– |
เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ |
– |
||||||
Links ข้อมูลเพิ่มเติม * |
https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1291887111299814/?d=n |
||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง |
|||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง |
|||||||||
MU-SDGs Strategy* |
ยุทธศาสตร์ที่ 3 |
||||||||
Partners/Stakeholders* |
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลโพสะ อ.เมืองอ่างทอง จ.อ่างทอง 2. ผู้นำชุมชนบ้านวัดนก ตําบลโพสะ อ.เมืองอ่างทอง จ.อ่างทอง 3. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ชุมชนบ้านวัดนก ต.โพสะ อ.เมืองอ่างทอง จ.อ่างทอง |
||||||||
ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)* |
|
||||||||
Key Message* |
การเพิ่มอัตราการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ในผู้ที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการให้ความรู้ และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับวัคซีนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี |
||||||||
ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง |
3.3.1, 3.3.2 |
โครงการสร้างภูมิ เสริมพลัง ต้านภัยโควิด
MU-SDGs Case Study* | โครงการสร้างภูมิ เสริมพลัง ต้านภัยโควิด | |||||||||||||
ผู้ดำเนินการหลัก* | นางสาวสาธิดา ต๊ะคีรี นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานหลัก* | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |||||||||||
ผู้ดำเนินการร่วม | คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานร่วม | – | |||||||||||
เนื้อหา* | จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า ปัญหาการไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เป็นปัญหาอันดับที่ 1 โดยสาเหตุของปัญหามาจากการไม่ได้รับการสนับสนุนจากบุคลากรสาธารณสุขอย่างเพียงพอ รวมไปถึงการไม่รับรู้ความรุนแรงและโอกาสเสี่ยงของการไม่ฉีดวัคซีน การไม่รับรู้ประโยชน์ของการฉีดวัคซีน อีกทั้งยังมีอุปสรรคต่อการเดินทางไปฉีดวัคซีนที่สถานพยาบาล มีความกังวล กลัวผลข้างเคียงจากวัคซีน ซึ่งการไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 นั้นย่อมส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ และเศรษฐกิจตามมา
ดังนั้น นางสาวสาธิดา ต๊ะคีรี นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับโรงพยาบาลบางปลาม้า ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “สร้างภูมิ เสริมพลัง ต้านภัยโควิด” ณ ชุมชนบ้านโคกครามสามัคคี ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และ อสม. ในการใช้แรงสนับสนุนทางสังคมทั้งการให้ข้อมูลผ่านคู่มือที่น่าสนใจ เข้าใจง่าย และทำให้คนในชุมชนที่ยังไม่เคยได้รับวัคซีนดังกล่าวจำนวนทั้งสิ้น 30 คน ได้รับรู้โอกาสเสี่ยงของการไม่ฉีดวัคซีน การรับรู้ประโยชน์ของการฉีดวัคซีน รวมไปถึงการสนับสนุนทางด้านอารมณ์ คลายความกังวลเรื่องผลข้างเคียงจากการฉีดวัคซีน และช่วยอำนวยความสะดวกพาคนในชุมชนไปฉีดวัคซีนที่สถานพยาบาล จนทำให้อัตราการได้รับวัคซีนของคนในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต | |||||||||||||
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม* | SDGs 3 | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก* | 3.8 | |||||||||||
SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง | – | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ | – | |||||||||||
Links ข้อมูลเพิ่มเติม * | https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283976538757538/?d=n | |||||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||||
MU-SDGs Strategy* | ยุทธศาสตร์ที่ 3 | |||||||||||||
Partners/Stakeholders* | 1. โรงพยาบาลบางปลาม้า อ.บางปลามม้า จ.สุพรรณบุรี 2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 7 บ้านปากคลองกุ่ม ต.โคกคราม อ.บางปลามม้า จ.สุพรรณบุรี | |||||||||||||
ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)* | ||||||||||||||
Key Message* | การเพิ่มอัตราการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ในผู้ที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในให้แรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี | |||||||||||||
ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง | 3.3.1, 3.3.2 |
โครงการการเดินทางสู่หมู่บ้านคลายความเครียด
MU-SDGs Case Study* | โครงการการเดินทางสู่หมู่บ้านคลายความเครียด | |||||||||||||||||
ผู้ดำเนินการหลัก* | นางสาวพรรณวดี ระกุล นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานหลัก* | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |||||||||||||||
ผู้ดำเนินการร่วม | คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานร่วม | – | |||||||||||||||
เนื้อหา* | จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า สถานการณ์โรค COVID-19 ทำให้คนในชุมชนเกิดความเครียด และมีบางรายฆ่าตัวตายสำเร็จ โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการขาดการจัดการความเครียด การขาดการได้รับคำปรึกษาจากคนรอบข้าง ซึ่งปัญหาดังกล่าวนั้นส่งผลกระทบต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิตของคนในชุมชนเป็นอย่างมาก
นางสาวพรรณวดี ระกุล นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับโรงพยาบาลบางปลาม้า และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “การเดินทางสู่หมู่บ้านคลายความเครียด” ณ ชุมชนบ้านปากคลองกุ่ม ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์ และ อสม. ในการใช้แรงสนับสนุนทางสังคมทั้งการให้ข้อมูลผ่านแผ่นพับที่น่าสนใจและเข้าใจง่าย การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ผ่านการทำตุ๊กตาบีบคลายเครียด และการส่งข้อความให้กำลังใจ อีกทั้งผู้ที่มีภาวะเครียดในชุมชนสามารถประเมินความเครียดของตนได้เอง และมีช่องทางต่าง ๆ ที่ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพจิต ซึ่งทำให้กลุ่มคนดังกล่าวมีความเครียดลดลง และมีกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไป
ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต | |||||||||||||||||
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม* | SDGs 3 | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก* | 3.4 | |||||||||||||||
SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง | – | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ | – | |||||||||||||||
Links ข้อมูลเพิ่มเติม * | https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283329225488936/?d=n | |||||||||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||||||||
MU-SDGs Strategy* | ยุทธศาสตร์ที่ 3 | |||||||||||||||||
Partners/Stakeholders* | 1. โรงพยาบาลบางปลาม้า อ.บางปลามม้า จ.สุพรรณบุรี 2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 7 บ้านปากคลองกุ่ม ต.โคกคราม อ.บางปลามม้า จ.สุพรรณบุรี | |||||||||||||||||
ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)* | ||||||||||||||||||
Key Message* | การลดระดับความเครียดในผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในให้แรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี | |||||||||||||||||
ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง | 3.3.1, 3.3.2 |
โครงการคู่มือเพื่อนซี้ คู่หูคลายเครียด self-talk meditation
MU-SDGs Case Study* | โครงการคู่มือเพื่อนซี้ คู่หูคลายเครียด self-talk meditation | ||||||||||||||||||||||
ผู้ดำเนินการหลัก* | นายดรัล รักธัญญะการ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานหลัก* | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล | ||||||||||||||||||||
ผู้ดำเนินการร่วม | คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานร่วม | – | ||||||||||||||||||||
เนื้อหา* | จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงถือว่าเป็นกำลังสำคัญหลักในครอบครัวนั้นมีแนวโน้มประสบกับปัญหาทางด้านอารมณ์และความเครียดเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งกลุ่มผู้ดูแลดังกล่าวนั้นยังถูกถูกละเลยการประเมินสภาพจิตใจตามขั้นตอนที่ถูกต้องและเหมาะสมทำให้คุณภาพการดูแลสุขภาพจิตของผู้ดูแลลดลงและขาดวิธีการที่ถูกต้องในการลดความเครียด ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามมาได้ในอนาคต
ดังนั้น นายดรัล รักธัญญะการ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลหนองหาร โรงพยาบาลสันทราย ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “คู่มือเพื่อนซี้ คู่หูคลายเครียด self-talk meditation” ณ ชุมชนบ้านทุ่งหมื่นน้อย ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์ ผู้นำชุมชน และ อสม. ในการให้แรงสนับสนุนทางสังคมทั้งการให้ข้อมูลวิธีการคลายเครียดผ่านทางคู่มือที่มีความน่าสนใจและเข้าใจง่าย ประกอบกับการสนับสนุนทางด้านอารมณ์ผ่านการให้กำลังใจในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งทำให้กลุ่มผู้ดูแลดังกล่าวมีระดับความเครียดที่ลดลง
ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต | ||||||||||||||||||||||
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม* | SDGs 3 | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก* | 3.4 | ||||||||||||||||||||
SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง | – | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ | – | ||||||||||||||||||||
Links ข้อมูลเพิ่มเติม * | https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283324588822733/?d=n | ||||||||||||||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | |||||||||||||||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | |||||||||||||||||||||||
MU-SDGs Strategy* | ยุทธศาสตร์ที่ 3 | ||||||||||||||||||||||
Partners/Stakeholders* | 1. โรงพยาบาลสันทราย อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 2. ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลหนองหาร โรงพยาบาลสันทราย อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 3. ผู้นำชุมชน หมู่ 9 บ้านทุ่งหมื่นน้อย ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 9 บ้านทุ่งหมื่นน้อย ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ | ||||||||||||||||||||||
ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)* | |||||||||||||||||||||||
Key Message* | การลดระดับความเครียดในผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในให้แรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี | ||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง | 3.3.1, 3.3.2 |
โครงการชาวสวนปลอดภัย ห่างไกล MSDs
MU-SDGs Case Study* | โครงการชาวสวนปลอดภัย ห่างไกล MSDs | |||||||||||
ผู้ดำเนินการหลัก* | นางสาวอาวาติฟ ยานยา นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานหลัก* | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |||||||||
ผู้ดำเนินการร่วม | คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานร่วม | – | |||||||||
เนื้อหา* | จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพาราในพื้นที่ มีแนวโน้มของความผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ (Musculoskeletal disorders: MSDs) เพิ่มมากขึ้น และเกษตรกรกลุ่มดังกล่าวขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากการทำงานมีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องตามหลักการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน รวมทั้งขาดอุปกรณ์ที่ช่วยบรรเทาความเมื่อยล้าหลังจากการทำงาน ซึ่งปัญหาสุขภาพดังกล่าวนั้นส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและสุขภาะจิตของกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางเป็นอย่างยิ่ง
ดังนั้น นางสาวอาวาติฟ ยานยา นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit: PCU) คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลคลองท่อม ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “ชาวสวนปลอดภัย ห่างไกล MSDs” ณ ชุมชนบ้านเหนือ ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์ ผู้นำชุมชน และ อสม. ในการสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค MSDs เพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บจากการทำงานให้แก่กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพาราจำนวนทั้งสิ้น 15 คน พร้อมทั้งยังร่วมมือกับหน่วยงานข้างต้น และเกษตรกรกลุ่มดังกล่าวในการนำสมุนไพรพื้นถิ่นมาผลิตนวัตกรรมแผ่นประคบร้อนสมุนไพรบรรเทาอาการปวดเบื้องต้นอีกด้วย
ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต | |||||||||||
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม* | SDGs 3 | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก* | 3.4 | |||||||||
SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง | – | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ | – | |||||||||
Links ข้อมูลเพิ่มเติม * | https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283319492156576/?d=n | |||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||
MU-SDGs Strategy* | ยุทธศาสตร์ที่ 3 | |||||||||||
Partners/Stakeholders* | 1. โรงพยาบาลคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ 2. หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ 3. คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ 4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ 5. ผู้นำชุมชนหมู่ที่ 1 ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ | |||||||||||
ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)* | ||||||||||||
Key Message* | การแก้ปัญหาความผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อของเกษตรกรด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการสร้างเสริมความรู้เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว และนำสมุนไพรพื้นถิ่นมาผลิตนวัตกรรมแผ่นประคบร้อนสมุนไพรบรรเทาอาการปวดเบื้องต้นเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี | |||||||||||
ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง | 3.3.1, 3.3.2 |
โครงการป่าสักรวมใจ เด็กไทยฟันดี
MU-SDGs Case Study* | โครงการป่าสักรวมใจ เด็กไทยฟันดี | ||||||||
ผู้ดำเนินการหลัก* | นางสาวมณีรัตน์ ไตรรัตน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานหลัก* | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล | ||||||
ผู้ดำเนินการร่วม | คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน | ส่วนงานร่วม | – | ||||||
เนื้อหา* | จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า สถานการณ์โรค COVID-19 ทำให้เด็กนักเรียนไม่สามารถเข้ารับบริการเกี่ยวกับทันตสุขภาพได้ และจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กนักเรียนที่บริโภคที่ไม่เหมาะสม และการดูแลสุขภาพในช่องปากที่ไม่ถูกวิธี จึงทำให้เด็กนักเรียนมีปัญหาฟันผุเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็กนักเรียน และอาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ตามมาได้อีกในอนาคต ดังนั้น นางสาวมณีรัตน์ ไตรรัตน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ จึงร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดาวเรือง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และโรงเรียนวัดป่าสัก ในการดำเนินโครงการ “ป่าสักรวมใจ…เด็กไทยฟันดี” ณ ชุมชนบ้านป่าสัก ต.ดาวเรือง อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์ อสม. และอาจารย์ในโรงเรียน ในการสร้างเสริมความรู้ในเรื่องสุขภาพในช่องปาก และการแปรงฟันที่ถูกต้อง สร้างเสริมเจตคติและพฤติกรรมในเรื่องสุขภาพในช่องปาก และการแปรงฟันที่ถูกต้อง และเพิ่มพูนทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้แก่เด็กวัยเรียนในชุมชนจำนวนทั้งสิ้น 16 คน ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต | ||||||||
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม* | SDGs 3 | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก* | 3.4 | ||||||
SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง | – | เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ | – | ||||||
Links ข้อมูลเพิ่มเติม * | https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283314278823764/?d=n | ||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | |||||||||
โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง | |||||||||
MU-SDGs Strategy* | ยุทธศาสตร์ที่ 3 | ||||||||
Partners/Stakeholders* | 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดาวเรือง อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี 2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 4 บ้านป่าสัก ต.ดาวเรือง อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี 3. โรงเรียนวัดป่าสัก หมู่ 4 บ้านป่าสัก ต.ดาวเรือง อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี | ||||||||
ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)* | |||||||||
Key Message* | การแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการสร้างเสริมความรู้ เจตคติ และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากให้แก่เด็กวัยเรียนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี | ||||||||
ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง | 3.3.1, 3.3.2 |
วัคซีนเพื่อชุมชน
MU-SDGs Case Study* |
วัคซีนเพื่อชุมชน |
||||||||
ผู้ดำเนินการหลัก* |
นายแพทย์เชิดเกียรติ เติมเกษมศานต์ |
ส่วนงานหลัก* |
ศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครรสวรรค์ |
||||||
ผู้ดำเนินการร่วม |
นางสาวสิริกร นาคมณี และงานวัคซีน ศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครรสวรรค์ |
ส่วนงานร่วม |
สำนักงาน คปภ. , สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ , อบต.เขาทอง , รพ.สต.เขาทอง , ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ , สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์ |
||||||
เนื้อหา* |
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโคโรน่าไวรัส ๒๐๑๙ ที่มีการแพร่ระบาดอย่างมากทั้งในประเทศไทย และทั่วโลกนั้น ก่อให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างกว้างขวาง ดังนั้นทางออกที่ยั่งยืนของวิกฤตครั้งนี้ คือ การให้วัคซีนป้องกันการติดเชื้อ COVID-๑๙ กับคนส่วนใหญ่ของประเทศ ในการนี้เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้ประชาชนทั่วไปรวมทั้งกลุ่มผู้พิการและกลุ่มเปราะบาง ผู้ป่วยติดเตียง และนักเรียนมัธยม ศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล จึงได้ดำเนินการให้บริการฉีดวัคซีนโควิด๑๙ ทั้งวัคซีนหลัก และ วัคซีนทางเลือก ในวัคซีนหลักศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ได้ให้บริการฉีดวัคซีนกับผู้ที่จองผ่านระบบ และจองผ่านเจ้าหน้าที่ อสม. ทำให้ประชาชนในกลุ่มเป้าหมายคือผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์ และผู้ป่วย 7 กลุ่มโรคของตำบลเขาทองได้รับวัคซีนมากกว่า ๗๐%ตามเป้า และขยายเป้าหมายสู่ประชาชนทั่วไป อีกทั้งให้บริการวัคซีนทางเลือกโดยไม่คิดค่าบริการในกลุ่มผู้พิการและกลุ่มเปราะบางของจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน ๒๒๖ คน โดยความร่วมมือกับสำนักงาน คปภ. และสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ และเพิ่มความครอบคลุมในการดูแลประชาชนในเขตเขาทองให้ได้รับวัคซีนอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะผู้ป่วยติดเตียง ศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ ร่วมกับทีมอาจารย์ในมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ออกให้บริการฉีดวัคซีนถึงบ้านจำนวน ๓๐ คน โดยได้รับความร่วมมือจาก อบต.เขาทองและเจ้าหน้าที่ อสม.ในพื้นที่ และยังฉีดวัคซีนให้กับนักเรียนมัธยมจำนวน ๓๑๗ คน เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงวัคซีนโควิด๑๙ ได้อย่างทั่วถึง อันจะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd immunity) ให้กับประชาชนโดยผลการดำเนินงานเป็นที่น่าพอใจประชาชนในเขตพื้นที่เขาทองมีความพึงพอใจ และได้รับวัคซีนมากกว่า ๗๐% ตามที่รัฐบาลตั้งเป้าไว้ ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย และกลุ่มเปราะบาง เช่นผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยติดเตียง เป็นต้น |
||||||||
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม* |
SDG 11 |
เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก* |
SDG 11.1 , 11.7 , 11.b |
||||||
SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง |
SDG 3 |
เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ |
3.3 , 3.b
|
||||||
Links ข้อมูลเพิ่มเติม * |
https://www.facebook.com/111082602286281/posts/4587250791336084/ |
||||||||
https://www.facebook.com/111082602286281/posts/4543711679023329/ |
|||||||||
https://www.facebook.com/111082602286281/posts/4475585035835994/ |
|||||||||
MU-SDGs Strategy* |
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ Excellence in management for sustainable organization |
||||||||
Partners/Stakeholders* |
สำนักงาน คปภ. , สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ , อบต.เขาทอง , รพ.สต.เขาทอง , ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ , สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์ |
||||||||
ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)* |
|
||||||||
Key Message* |
ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเป้าหมาย 608 ในจังหวัดนครสวรรค์ ,นักเรียนโรงเรียนเขาทอง และ โรงเรียนเขาทองพิทยาคม , ผู้ป่วยติดเตียงและผ้สูงอายุในเขตตำบลเขาทอง ,กลุ่มผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ได้เข้าถึงวัคซีนอย่างทั่วถึงมากกว่า ๗๐% ตามที่รัฐบาลตั้งเป้าไว้ เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd immunity) ให้กับประชาชน |
||||||||
ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง |
17.2.5 |
เขาทองบำรุงสุข มหิดลบำรุงรักษ์
Warning: sort() expects at least 1 parameter, 0 given in /var/www/html/sdgs/wp-content/themes/wp-bootstrap-starter-child-master/functions.php on line 77
Warning: Use of undefined constant console - assumed 'console' (this will throw an Error in a future version of PHP) in /var/www/html/sdgs/wp-content/themes/wp-bootstrap-starter-child-master/functions.php on line 78
Warning: log() expects parameter 1 to be float, string given in /var/www/html/sdgs/wp-content/themes/wp-bootstrap-starter-child-master/functions.php on line 78
หัวข้อ |
รายละเอียด |
||||||
โครงการ ชื่องานวิจัย |
เขาทองบำรุงสุข มหิดลบำรุงรักษ์ |
||||||
ผู้รับผิดชอบ |
นางศศิธร มารัตน์ |
||||||
ที่มาและความสำคัญ |
สืบเนื่องจากสถานการณ์ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 19 (Covid- 19) ที่แพร่ระบาดหนักในประเทศจีนเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ที่ผ่านมา และมีการระบาดอีกหลายประเทศทั่วโลกติดต่อกันเป็นระยะเวลายาวนานจนถึงปัจจุบัน และในช่วงเดือนเมษายน 2564 ที่ผ่านมาประเทศไทยพบการระบาดระลอกใหม่มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจำนวนมาก รัฐบาลมีนโยบายให้กลุ่มเสี่ยงและผู้ได้รับเชื้อโควิด 19 กลับมารักษายังภูมิลำเนา โดยให้ทุกชุมชนจัดตั้งศูนย์พักคอยเพื่อรองรับผู้ที่มีความเสี่ยงสูงและผู้ได้รับเชื้อโควิด 19 ที่ไม่แสดงอาการกลับมาพักคอยในชุมชนตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ เป็นอีกหนึ่งชุมชนที่จะต้องจัดตั้งศูนย์พักคอยและขยายศูนย์มาใช้พื้นที่ของวโครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ ด้วยเห็นความสำคัญและห่วงใยต่อสภาพจิตใจและการปฏิบัติตัวของกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยที่ได้รับเชื่อโควิด 19 ที่ศูนย์พักคอยตำบลเขาทองและศูนยพักคอยกันภัยมหิดล และเพื่อยึดมั่นต่อพันธกิจของ วิทยาเขตนครสวรรค์ ในการมีส่วนร่วมและช่วยเหลือชุมชน |
||||||
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา |
1. ศูนย์พักคอย ศาลเจ้าพ่อเจ้าแม่เขาทอง 2. ศูนย์พักคอยกันภัยมหิดล |
||||||
วัตถุประสงค์ |
1 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่อยู่ศูนย์พักคอยของตำบลเขาทอง 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่อยู่ศูนย์พักคอยของตำบลเขาทองได้ผ่อนคลายลดภาวะความเครียด 3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่อยู่ศูนย์พักคอยของตำบลเขาทองได้มีความรู้ปฏิบัติตัวและดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ 4เพื่อสนับสนุนพันธกิจของวิทยาเขตด้านงานบริการวิชาการต่อสังคม |
||||||
ปีที่จัด |
2564 |
||||||
ช่วงเวลาที่เกี่ยวข้อง |
สิงหาคม 2564 – กันยายน 2564 |
||||||
ระดับความร่วมมือ/ระดับความสำคัญ |
ระดับชุมชน ระดับตำบล |
||||||
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (รายละเอียดเพิ่มเติม) |
1. โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ ม.มหิดล 2.องค์การบริหารส่วนตำบลเขาทอง 3.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาทอง |
||||||
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม |
1. ประสานงานกับผู้ดูแลศูนย์พักคอยของตำบลเขาทองเพื่อแจ้งวัตถุประสงค์และรูปแบบการดำเนินกิจกรรม 2. วางรูปแบบการจัดโครงการ 3. ดำเนินกิจกรรม – เป็นการจัดกิจกรรมระหว่างวัน วันล่ะ ครั้ง 5 ครั้ง/สัปดาห์ – จัดกิจกรรมผ่านกระบวนการจิตตปัญญา – ให้สุขศึกษาด้านการปฏิบัติตัวและดูแลตนเองตามหลักวิชาการ |
||||||
กลุ่มเป้าหมายจากผู้ร่วมกิจกรรม |
จำนวนผู้ได้รับเชื้อโควิด–19 ที่ร่วมกิจกรรมทั้ง 2 ศูนย์พักคอย(1.ศูนย์พักคอยกันภัยมหิดลศูนย์พักคอยศาลเจ้าเขาทอง) รวม 21 คน
|
||||||
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม |
|||||||
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ |
1. จำนวนผู้ติดเชื้อโควิด–19 ที่ร่วมกิจกรรมทั้ง 2 ศูนย์พักคอย(1.ศูนย์พักคอยกันภัยมหิดลศูนย์พักคอยศาลเจ้าเขาทอง) รวม 21 คน 2. ผู้ติดเชื้อที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมได้ระบายความทุกข์/ความโคกเศร้าผ่านการวาดภาพ 3. ส่วนใหญ่จะมีความเครียดและวิตกกังวลสูงในช่วงสัปดาห์แรกเมื่อทราบผลการติดเชื้อ 4. สาเหตุของความเครียดส่วนใหญ่กลัวทำให้ผู้ที่ใกล้ชิดติดเชื้อด้วย ลองลงมาคือเสียงรอบข้างกล่าวโทษทำให้ชุมชนเดือดร้อน 5.สัปดาห์ที่ 2 ผู้ติดเชื้อทุกคนผ่อนคลายและชุมชนให้การยอมรับการกลับสู่ชุมชน 6. ผู้ติดเชื้อปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง และออกกำลังกายทุกวันตามที่ได้รับคำแนะนำ 7. หน่วยงานองค์กรภายในชุมชนร่วมมือเอื้อเฟื้อให้ความช่วยเหลือ 8.เกิดความร่วมมือทุกภาคส่วนในชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงคนในชุมชน |
||||||
Web link |
– |
||||||
รูปภาพประกอบ |
|
||||||
SDGs goal |
Goal 3 : Good health and well being Goal 6 : Clean water and sanitation Goal 16 : Peace, justice and strong institutions |