โครงการสาวมุสลิมปลอดภัย ปาเต๊ะคล้องใจ ห่างไกลโควิด-19

MU-SDGs Case Study*

โครงการสาวมุสลิมปลอดภัย ปาเต๊ะคล้องใจ ห่างไกลโควิด-19

ผู้ดำเนินการหลัก*

นางสาวซอฟียะห์ เจ๊ะหะ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานหลัก*

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินการร่วม

คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานร่วม

เนื้อหา*

จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า ชุมชนดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่พบปัญหาของการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 มากสุด เป็นอันดับ1 ในตำบลคลองท่อมใต้ อีกทั้งคนในชุมชนมีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข และอุปกรณ์ป้องกันเชื้อไวรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้หน้ากากอนามัย ทั้งนี้ พบข้อมูลที่น่าสนใจว่าผู้หญิงมุสลิมที่ใส่ผ้าปิดหน้านั้นส่วนใหญ่จะไม่สวมหน้ากากอนามัยเพราะรู้สึกอึดอัด เจ็บที่บริเวณหู และยุ่งยากสำหรับผู้หญิงมุสลิมที่ใส่ผ้าปิดหน้า นอกจากนี้ยังพบว่าผู้หญิงมุสลิมที่ใส่ผ้าปิดหน้าคิดว่าการใส่ผ้าปิดหน้าโดยไม่ใส่หน้ากากอนามัยนั้นสามารถป้องกันการติดต่อเชื้อโควิด-19 ได้เทียบเท่าการใส่หน้ากากอนามัย ซึ่งปัญหาดังกล่าวย่อมเกิดผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชนตามมา

 

นางสาวซอฟียะห์ เจ๊ะหะ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit: PCU) โรงพยาบาลคลองท่อม ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “สาวมุสลิมปลอดภัย ปาเต๊ะคล้องใจ ห่างไกลโควิด-19” ณ ชุมชนบ้านคลองขนาน ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และ อสม. ในการใช้แรงสนับสนุนทางสังคมทั้งการให้ข้อมูลเกี่ยวกับป้องกันตนเองในช่วงสถานการณ์โควิด-19  รวมไปถึงการสนับสนุนทางด้านอารมณ์ด้วยการให้กำลังใจ คลายความกังวลเรื่องการป้องกันตนเองจากเชื้อไวรัส และร่วมกันผลิตสายคล้องหน้ากากอนามัยจากผ้าปาเต๊ะซึ่งเป็นผ้าที่ใช้ใส่ในท้องถิ่น โดยสายคล้องหน้ากากอนามัยดังกล่าวนั้นสามารถปรับขนาดได้ ทำให้ผู้หญิงมุสลิมที่ใส่ผ้าปิดหน้าไม่รู้สึกอึดอัดและเจ็บที่หูเวลาสวมใส่หน้ากากอนามัย ส่งผลให้พวกเขายอมที่จะสวมใส่หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด อีกทั้งคนในชุมชนยังสามารถผลิตสายคล้องหน้ากากอนามัยใช้ได้เองและสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย

 

ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต 

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม*

SDGs 3

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก*

3.8

SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ

Links ข้อมูลเพิ่มเติม *

https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1285298128625379/?d=n

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

MU-SDGs Strategy*

ยุทธศาสตร์ที่ 3

Partners/Stakeholders*

1. โรงพยาบาลคลองท่อม อ.คลองท่อม จ.กระบี่

2. หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลคลองท่อม อ.คลองท่อม จ.กระบี่

3. ผู้นำชุมชน ชุมชนบ้านในควน ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่

4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ชุมชนบ้านในควน ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่

ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)*

  

Key Message*

การลดโอกาสเสี่ยงในการแพร่เชื้อโควิด-19 ในชุมชนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการให้แรงสนับสนุนทางสังคม และร่วมกันผลิตเจลสายคล้องหน้ากากอนามัยที่ทำให้ผู้หญิงมุสลิมที่ใส่ผ้าปิดหน้าไม่รู้สึกอึดอัดและเจ็บที่หูเวลาสวมใส่หน้ากากอนามัย เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง

3.3.1, 3.3.2

 

โครงการเจลแอลกอฮอล์สมุนไพรใบขลู่ต้านโควิดด้วยมือเรา

MU-SDGs Case Study*

โครงการเจลแอลกอฮอล์สมุนไพรใบขลู่ต้านโควิดด้วยมือเรา

ผู้ดำเนินการหลัก*

นายศุภณัฎฐ์ พูลสวัสดิ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานหลัก*

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินการร่วม

คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานร่วม

เนื้อหา*

จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในพื้นที่ชุมชนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และคนในชุมชนมีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข และอุปกรณ์ป้องกันเชื้อไวรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจลแอลกอฮอล์ (Hand Sanitizer) ซึ่งถือได้ว่าการล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์นั้นเป็นหนึ่งในวิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ได้ดี แต่พบว่าเจลแอลกอฮอล์นั้นเป็นสินค้าขาดตลาดทำให้หาซื้อในชุมชนได้ค่อนข้างยากและมีราคาที่ค่อนข้างสูง ซึ่งปัญหาดังกล่าวย่อมเกิดผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชนตามมา

 

ดังนั้น นายศุภณัฎฐ์ พูลสวัสดิ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit: PCU) คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลคลองท่อม ร้านคลองท่อมเภสัช ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “เจลแอลกอฮอล์สมุนไพรใบขลู่ต้านโควิดด้วยมือเรา” ณ ชุมชนบ้านในควน ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาจึงดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และ อสม. ในการใช้แรงสนับสนุนทางสังคมทั้งการให้ข้อมูลผ่านการให้ความรู้ รวมไปถึงการสนับสนุนทางด้านอารมณ์ด้วยการให้กำลังใจ คลายความกังวลเรื่องการป้องกันตนเองในสถานการณ์การแพร่ระบาด และร่วมกันผลิตเจลแอลกอฮอล์ที่ผสมสารสกัดจากใบขลู่ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นของชุมชน โดยเจลแอลกอฮอล์ดังกล่าวนั้นจะลดการระคายเคืองและช่วยถนอมผิวของผู้ใช้ อีกทั้งคนในชุมชนยังสามารถผลิตเจลแอลกอฮอล์ใช้ได้เองและสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย

 

ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต 

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม*

SDGs 3

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก*

3.8

SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ

Links ข้อมูลเพิ่มเติม *

https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1285293418625850/?d=n

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

MU-SDGs Strategy*

ยุทธศาสตร์ที่ 3

Partners/Stakeholders*

1. โรงพยาบาลคลองท่อม อ.คลองท่อม จ.กระบี่

2. หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลคลองท่อม อ.คลองท่อม จ.กระบี่

3. คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลคลองท่อม อ.คลองท่อม จ.กระบี่

4. ร้านคลองท่อมเภสัช อ.คลองท่อม จ.กระบี่

5. ผู้นำชุมชน ชุมชนบ้านในควน ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่

6. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ชุมชนบ้านในควน ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่

ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)*

 

Key Message*

การลดโอกาสเสี่ยงในการแพร่เชื้อโควิด-19 ในชุมชนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการให้แรงสนับสนุนทางสังคม และร่วมกันผลิตเจลแอลกอฮอล์ที่ผสมสารสกัดจากใบขลู่ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นของชุมชน เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง

3.3.1, 3.3.2

โครงการกระเป๋าตอบคำถามยอดฮิต with covid vaccine

MU-SDGs Case Study*

โครงการกระเป๋าตอบคำถามยอดฮิต with covid vaccine

ผู้ดำเนินการหลัก*

นายประชารักษ์  ชาลีนิวัฒน์นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานหลัก*

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินการร่วม

คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานร่วม

เนื้อหา*

จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า คนในชุมชนนั้นยังไม่มีความมั่นใจในการมาฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เนื่องจากยังขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีน และอาการข้างเคียงของการฉีดวัคซีน รวมไปถึงการมีเจตคติทางด้านลบต่อการฉีดวัคซีนดังกล่าว ซึ่งการไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 นั้นย่อมส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ และเศรษฐกิจตามมา

 

ดังนั้น นายประชารักษ์  ชาลีนิวัฒน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับเทศบาลตำบลทัพทัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองหญ้าปล้อง และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “กระเป๋าตอบคำถามยอดฮิต with covid vaccine” ณ ชุมชนหมู่บ้านหนองหญ้าปล้อง ต.ทัพทัน อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข และ อสม. ในการสร้างเสริมความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนและอาการข้างเคียงของการฉีดวัคซีนผ่านการใช้กระเป๋าที่บรรจุคำถามที่ถูกถามบ่อย ๆ (Frequently Answered Questions: FAQ) รวมไปถึงการสร้างเจตคติที่ดีต่อการฉีดวัคซีนผ่านการพูดคุยกับคนในชุมชนอย่างเป็นกันเองจนทำให้อัตราการได้รับวัคซีนของคนในชุมชนเพิ่มมากขึ้น

 

ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต 

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม*

SDGs 3

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก*

3.8

SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ

Links ข้อมูลเพิ่มเติม *

https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283982558756936/?d=n

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

MU-SDGs Strategy*

ยุทธศาสตร์ที่ 3

Partners/Stakeholders*

1. เทศบาลตำบลทัพทัน อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี

2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองหญ้าปล้อง ต.ทัพทัน อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี

3. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ชุมชนหนองหญ้าปล้อง ต.ทัพทัน อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี

ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)*

Key Message*

การเพิ่มอัตราการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ในผู้ที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการให้ความรู้ และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับวัคซีนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง

3.3.1, 3.3.2

 

โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส COVID-19 เชิงรุก

MU-SDGs Case Study*

โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส COVID-19 เชิงรุก

ผู้ดำเนินการหลัก*

นายธาดา คณาภรณ์ทิพย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานหลัก*

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินการร่วม

คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานร่วม

เนื้อหา*

จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า คนในชุมชนนั้นยังไม่มีความมั่นใจในการมาฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เนื่องจากยังขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีน และอาการข้างเคียงของการฉีดวัคซีน รวมไปถึงการมีเจตคติทางด้านลบต่อการฉีดวัคซีนดังกล่าว ซึ่งการไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 นั้นย่อมส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ และเศรษฐกิจตามมา

 

ดังนั้น นายธาดา คณาภรณ์ทิพย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลโพสะ ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “ส่งเสริมการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส COVID-19 เชิงรุก” ณ ชุมชนบ้านวัดนก ต.โพสะ อ.เมืองอ่างทอง จ.อ่างทอง ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ในการสร้างเสริมความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนและอาการข้างเคียงของการฉีดวัคซีนให้แก่คนในชุมชนที่ยังไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ผ่านการบรรยาย อีกทั้งยังสร้างเสริมให้คนในชุมชนมีเจตคติที่ดีต่อการฉีดวัคซีนดังกล่าวผ่านการพูดคุยกับคนในชุมชนอย่างเป็นกันเองจนทำให้คนในชุมชนมีแนวโน้มในการรับวัคซีนเพิ่มมากขึ้น

 

ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต 

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม*

SDGs 3

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก*

3.8

SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ

Links ข้อมูลเพิ่มเติม *

https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1291887111299814/?d=n

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

MU-SDGs Strategy*

ยุทธศาสตร์ที่ 3

Partners/Stakeholders*

1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลโพสะ อ.เมืองอ่างทอง จ.อ่างทอง

2. ผู้นำชุมชนบ้านวัดนก ตําบลโพสะ อ.เมืองอ่างทอง จ.อ่างทอง

3. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ชุมชนบ้านวัดนก ต.โพสะ อ.เมืองอ่างทอง จ.อ่างทอง

ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)*

 

Key Message*

การเพิ่มอัตราการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ในผู้ที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการให้ความรู้ และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับวัคซีนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง

3.3.1, 3.3.2

โครงการสร้างภูมิ เสริมพลัง ต้านภัยโควิด

MU-SDGs Case Study*

โครงการสร้างภูมิ เสริมพลัง ต้านภัยโควิด

ผู้ดำเนินการหลัก*

นางสาวสาธิดา ต๊ะคีรี นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานหลัก*

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินการร่วม

คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานร่วม

เนื้อหา*

จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า ปัญหาการไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เป็นปัญหาอันดับที่ 1 โดยสาเหตุของปัญหามาจากการไม่ได้รับการสนับสนุนจากบุคลากรสาธารณสุขอย่างเพียงพอ รวมไปถึงการไม่รับรู้ความรุนแรงและโอกาสเสี่ยงของการไม่ฉีดวัคซีน การไม่รับรู้ประโยชน์ของการฉีดวัคซีน อีกทั้งยังมีอุปสรรคต่อการเดินทางไปฉีดวัคซีนที่สถานพยาบาล มีความกังวล กลัวผลข้างเคียงจากวัคซีน ซึ่งการไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 นั้นย่อมส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ และเศรษฐกิจตามมา

 

ดังนั้น นางสาวสาธิดา ต๊ะคีรี นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับโรงพยาบาลบางปลาม้า ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “สร้างภูมิ เสริมพลัง ต้านภัยโควิด” ณ ชุมชนบ้านโคกครามสามัคคี ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และ อสม. ในการใช้แรงสนับสนุนทางสังคมทั้งการให้ข้อมูลผ่านคู่มือที่น่าสนใจ เข้าใจง่าย และทำให้คนในชุมชนที่ยังไม่เคยได้รับวัคซีนดังกล่าวจำนวนทั้งสิ้น 30 คน ได้รับรู้โอกาสเสี่ยงของการไม่ฉีดวัคซีน การรับรู้ประโยชน์ของการฉีดวัคซีน รวมไปถึงการสนับสนุนทางด้านอารมณ์ คลายความกังวลเรื่องผลข้างเคียงจากการฉีดวัคซีน และช่วยอำนวยความสะดวกพาคนในชุมชนไปฉีดวัคซีนที่สถานพยาบาล จนทำให้อัตราการได้รับวัคซีนของคนในชุมชนเพิ่มมากขึ้น

 

ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต 

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม*

SDGs 3

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก*

3.8

SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ

Links ข้อมูลเพิ่มเติม *

https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283976538757538/?d=n

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

MU-SDGs Strategy*

ยุทธศาสตร์ที่ 3

Partners/Stakeholders*

1. โรงพยาบาลบางปลาม้า อ.บางปลามม้า จ.สุพรรณบุรี

2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 7 บ้านปากคลองกุ่ม ต.โคกคราม อ.บางปลามม้า จ.สุพรรณบุรี

ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)*

Key Message*

การเพิ่มอัตราการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ในผู้ที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในให้แรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง

3.3.1, 3.3.2

 

โครงการการเดินทางสู่หมู่บ้านคลายความเครียด

MU-SDGs Case Study*

โครงการการเดินทางสู่หมู่บ้านคลายความเครียด

ผู้ดำเนินการหลัก*

นางสาวพรรณวดี ระกุล นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานหลัก*

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินการร่วม

คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานร่วม

เนื้อหา*

จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า สถานการณ์โรค COVID-19 ทำให้คนในชุมชนเกิดความเครียด และมีบางรายฆ่าตัวตายสำเร็จ โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการขาดการจัดการความเครียด การขาดการได้รับคำปรึกษาจากคนรอบข้าง ซึ่งปัญหาดังกล่าวนั้นส่งผลกระทบต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิตของคนในชุมชนเป็นอย่างมาก

 

นางสาวพรรณวดี ระกุล นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับโรงพยาบาลบางปลาม้า และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “การเดินทางสู่หมู่บ้านคลายความเครียด” ณ ชุมชนบ้านปากคลองกุ่ม ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565

ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์ และ อสม. ในการใช้แรงสนับสนุนทางสังคมทั้งการให้ข้อมูลผ่านแผ่นพับที่น่าสนใจและเข้าใจง่าย การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ผ่านการทำตุ๊กตาบีบคลายเครียด และการส่งข้อความให้กำลังใจ อีกทั้งผู้ที่มีภาวะเครียดในชุมชนสามารถประเมินความเครียดของตนได้เอง และมีช่องทางต่าง ๆ ที่ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพจิต ซึ่งทำให้กลุ่มคนดังกล่าวมีความเครียดลดลง และมีกำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไป

 

ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต 

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม*

SDGs 3

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก*

3.4

SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ

Links ข้อมูลเพิ่มเติม *

https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283329225488936/?d=n

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

MU-SDGs Strategy*

ยุทธศาสตร์ที่ 3

Partners/Stakeholders*

1. โรงพยาบาลบางปลาม้า อ.บางปลามม้า จ.สุพรรณบุรี

2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 7 บ้านปากคลองกุ่ม ต.โคกคราม อ.บางปลามม้า จ.สุพรรณบุรี

ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)*

 
  

Key Message*

การลดระดับความเครียดในผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในให้แรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง

3.3.1, 3.3.2

 

โครงการคู่มือเพื่อนซี้ คู่หูคลายเครียด self-talk meditation

MU-SDGs Case Study*

โครงการคู่มือเพื่อนซี้ คู่หูคลายเครียด self-talk meditation

ผู้ดำเนินการหลัก*

นายดรัล รักธัญญะการ

นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานหลัก*

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินการร่วม

คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานร่วม

เนื้อหา*

จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงถือว่าเป็นกำลังสำคัญหลักในครอบครัวนั้นมีแนวโน้มประสบกับปัญหาทางด้านอารมณ์และความเครียดเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งกลุ่มผู้ดูแลดังกล่าวนั้นยังถูกถูกละเลยการประเมินสภาพจิตใจตามขั้นตอนที่ถูกต้องและเหมาะสมทำให้คุณภาพการดูแลสุขภาพจิตของผู้ดูแลลดลงและขาดวิธีการที่ถูกต้องในการลดความเครียด ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามมาได้ในอนาคต

 

ดังนั้น นายดรัล รักธัญญะการ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลหนองหาร โรงพยาบาลสันทราย ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “คู่มือเพื่อนซี้ คู่หูคลายเครียด self-talk meditation” ณ ชุมชนบ้านทุ่งหมื่นน้อย ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์ ผู้นำชุมชน และ อสม. ในการให้แรงสนับสนุนทางสังคมทั้งการให้ข้อมูลวิธีการคลายเครียดผ่านทางคู่มือที่มีความน่าสนใจและเข้าใจง่าย ประกอบกับการสนับสนุนทางด้านอารมณ์ผ่านการให้กำลังใจในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งทำให้กลุ่มผู้ดูแลดังกล่าวมีระดับความเครียดที่ลดลง

 

ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต 

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม*

SDGs 3

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก*

3.4

SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ

Links ข้อมูลเพิ่มเติม *

https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283324588822733/?d=n

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

MU-SDGs Strategy*

ยุทธศาสตร์ที่ 3

Partners/Stakeholders*

1. โรงพยาบาลสันทราย อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

2. ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลหนองหาร โรงพยาบาลสันทราย อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

3. ผู้นำชุมชน หมู่ 9 บ้านทุ่งหมื่นน้อย  ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 9 บ้านทุ่งหมื่นน้อย ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)*

   
  

Key Message*

การลดระดับความเครียดในผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในให้แรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง

3.3.1, 3.3.2

 

โครงการชาวสวนปลอดภัย ห่างไกล MSDs

MU-SDGs Case Study*

โครงการชาวสวนปลอดภัย ห่างไกล MSDs

ผู้ดำเนินการหลัก*

นางสาวอาวาติฟ ยานยา

นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานหลัก*

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินการร่วม

คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานร่วม

เนื้อหา*

จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพาราในพื้นที่ มีแนวโน้มของความผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ (Musculoskeletal disorders: MSDs) เพิ่มมากขึ้น และเกษตรกรกลุ่มดังกล่าวขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากการทำงานมีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องตามหลักการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน รวมทั้งขาดอุปกรณ์ที่ช่วยบรรเทาความเมื่อยล้าหลังจากการทำงาน ซึ่งปัญหาสุขภาพดังกล่าวนั้นส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและสุขภาะจิตของกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางเป็นอย่างยิ่ง

 

ดังนั้น นางสาวอาวาติฟ ยานยา นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ร่วมกับหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit: PCU) คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลคลองท่อม ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินโครงการ “ชาวสวนปลอดภัย ห่างไกล MSDs” ณ ชุมชนบ้านเหนือ ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์ ผู้นำชุมชน และ อสม. ในการสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค MSDs เพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บจากการทำงานให้แก่กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพาราจำนวนทั้งสิ้น 15 คน พร้อมทั้งยังร่วมมือกับหน่วยงานข้างต้น และเกษตรกรกลุ่มดังกล่าวในการนำสมุนไพรพื้นถิ่นมาผลิตนวัตกรรมแผ่นประคบร้อนสมุนไพรบรรเทาอาการปวดเบื้องต้นอีกด้วย

 

ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต  

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม*

SDGs 3

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก*

3.4

SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ

Links ข้อมูลเพิ่มเติม *

https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283319492156576/?d=n

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

MU-SDGs Strategy*

ยุทธศาสตร์ที่ 3

Partners/Stakeholders*

1. โรงพยาบาลคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

2. หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

3. คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

5. ผู้นำชุมชนหมู่ที่ 1 ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)*

 
 

Key Message*

การแก้ปัญหาความผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อของเกษตรกรด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการสร้างเสริมความรู้เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว และนำสมุนไพรพื้นถิ่นมาผลิตนวัตกรรมแผ่นประคบร้อนสมุนไพรบรรเทาอาการปวดเบื้องต้นเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง

3.3.1, 3.3.2

 

โครงการป่าสักรวมใจ เด็กไทยฟันดี

MU-SDGs Case Study*

โครงการป่าสักรวมใจ เด็กไทยฟันดี

ผู้ดำเนินการหลัก*

นางสาวมณีรัตน์  ไตรรัตน์

นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานหลัก*

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินการร่วม

คณาจารย์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน

ส่วนงานร่วม

เนื้อหา*

จากการศึกษาปัญหาสุขภาพชุมชน พบว่า สถานการณ์โรค COVID-19 ทำให้เด็กนักเรียนไม่สามารถเข้ารับบริการเกี่ยวกับทันตสุขภาพได้ และจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กนักเรียนที่บริโภคที่ไม่เหมาะสม และการดูแลสุขภาพในช่องปากที่ไม่ถูกวิธี จึงทำให้เด็กนักเรียนมีปัญหาฟันผุเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็กนักเรียน และอาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ตามมาได้อีกในอนาคต

ดังนั้น นางสาวมณีรัตน์ ไตรรัตน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ จึงร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดาวเรือง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และโรงเรียนวัดป่าสัก ในการดำเนินโครงการ “ป่าสักรวมใจ…เด็กไทยฟันดี” ณ ชุมชนบ้านป่าสัก ต.ดาวเรือง อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี ระหว่างวันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 ซึ่งทางนักศึกษาได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพดังกล่าวด้วยการใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ออกแบบเองโดยร่วมมือกับบุคลากรทางการแพทย์ อสม. และอาจารย์ในโรงเรียน ในการสร้างเสริมความรู้ในเรื่องสุขภาพในช่องปาก และการแปรงฟันที่ถูกต้อง สร้างเสริมเจตคติและพฤติกรรมในเรื่องสุขภาพในช่องปาก และการแปรงฟันที่ถูกต้อง และเพิ่มพูนทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้แก่เด็กวัยเรียนในชุมชนจำนวนทั้งสิ้น 16 คน

ทั้งนี้ ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความอนุเคราะห์ในการดำเนินโครงการและจะนำโครงการของนักศึกษาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในอนาคตเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) สืบต่อไปในอนาคต  

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม*

SDGs 3

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก*

3.4

SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ

Links ข้อมูลเพิ่มเติม *

https://www.facebook.com/402782096876991/posts/1283314278823764/?d=n

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

MU-SDGs Strategy*

ยุทธศาสตร์ที่ 3

Partners/Stakeholders*

1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดาวเรือง อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี

2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 4 บ้านป่าสัก ต.ดาวเรือง อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี

3. โรงเรียนวัดป่าสัก หมู่ 4 บ้านป่าสัก ต.ดาวเรือง อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี

ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)*

   




Key Message*

การแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนด้วยการร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการสร้างเสริมความรู้ เจตคติ และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากให้แก่เด็กวัยเรียนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง

3.3.1, 3.3.2

วัคซีนเพื่อชุมชน

MU-SDGs Case Study*

วัคซีนเพื่อชุมชน

ผู้ดำเนินการหลัก*

นายแพทย์เชิดเกียรติ  เติมเกษมศานต์

ส่วนงานหลัก*

ศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครรสวรรค์

ผู้ดำเนินการร่วม

นางสาวสิริกร  นาคมณี

และงานวัคซีน ศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์

จังหวัดนครรสวรรค์

ส่วนงานร่วม

สำนักงาน คปภ. , สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ , อบต.เขาทอง , รพ.สต.เขาทอง , ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ,

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์

เนื้อหา*

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโคโรน่าไวรัส ๒๐๑๙ ที่มีการแพร่ระบาดอย่างมากทั้งในประเทศไทย และทั่วโลกนั้น ก่อให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างกว้างขวาง ดังนั้นทางออกที่ยั่งยืนของวิกฤตครั้งนี้ คือ การให้วัคซีนป้องกันการติดเชื้อ COVID-๑๙ กับคนส่วนใหญ่ของประเทศ

          ในการนี้เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้ประชาชนทั่วไปรวมทั้งกลุ่มผู้พิการและกลุ่มเปราะบาง ผู้ป่วยติดเตียง และนักเรียนมัธยม ศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล จึงได้ดำเนินการให้บริการฉีดวัคซีนโควิด๑๙ ทั้งวัคซีนหลัก และ วัคซีนทางเลือก ในวัคซีนหลักศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ได้ให้บริการฉีดวัคซีนกับผู้ที่จองผ่านระบบ และจองผ่านเจ้าหน้าที่ อสม. ทำให้ประชาชนในกลุ่มเป้าหมายคือผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์ และผู้ป่วย 7 กลุ่มโรคของตำบลเขาทองได้รับวัคซีนมากกว่า ๗๐%ตามเป้า และขยายเป้าหมายสู่ประชาชนทั่วไป อีกทั้งให้บริการวัคซีนทางเลือกโดยไม่คิดค่าบริการในกลุ่มผู้พิการและกลุ่มเปราะบางของจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน ๒๒๖ คน โดยความร่วมมือกับสำนักงาน คปภ. และสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ และเพิ่มความครอบคลุมในการดูแลประชาชนในเขตเขาทองให้ได้รับวัคซีนอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะผู้ป่วยติดเตียง ศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ ร่วมกับทีมอาจารย์ในมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ ออกให้บริการฉีดวัคซีนถึงบ้านจำนวน ๓๐ คน โดยได้รับความร่วมมือจาก อบต.เขาทองและเจ้าหน้าที่ อสม.ในพื้นที่ และยังฉีดวัคซีนให้กับนักเรียนมัธยมจำนวน ๓๑๗ คน เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงวัคซีนโควิด๑๙ ได้อย่างทั่วถึง อันจะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd immunity) ให้กับประชาชนโดยผลการดำเนินงานเป็นที่น่าพอใจประชาชนในเขตพื้นที่เขาทองมีความพึงพอใจ และได้รับวัคซีนมากกว่า ๗๐% ตามที่รัฐบาลตั้งเป้าไว้ ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย และกลุ่มเปราะบาง เช่นผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยติดเตียง เป็นต้น

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม*

SDG 11

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG หลัก*

SDG 11.1 , 11.7 , 11.b

SDGs อื่น ๆ ที่สอดคล้อง

SDG 3

เป้าประสงค์ย่อยใน SDG อื่นๆ

3.3 , 3.b

 

Links ข้อมูลเพิ่มเติม *

https://www.facebook.com/111082602286281/posts/4587250791336084/

https://www.facebook.com/111082602286281/posts/4543711679023329/

https://www.facebook.com/111082602286281/posts/4475585035835994/

MU-SDGs Strategy*

ยุทธศาสตร์ที่ ๔ Excellence in management for sustainable organization

Partners/Stakeholders*

สำนักงาน คปภ. , สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ , อบต.เขาทอง , รพ.สต.เขาทอง , ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ , สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์

ภาพประกอบ (3-5 ภาพ)*

   
 
   

 

 

Key Message*

ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเป้าหมาย 608 ในจังหวัดนครสวรรค์ ,นักเรียนโรงเรียนเขาทอง และ โรงเรียนเขาทองพิทยาคม , ผู้ป่วยติดเตียงและผ้สูงอายุในเขตตำบลเขาทอง ,กลุ่มผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ได้เข้าถึงวัคซีนอย่างทั่วถึงมากกว่า ๗๐% ตามที่รัฐบาลตั้งเป้าไว้ เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd immunity) ให้กับประชาชน

ตัวชี้วัด THE Impact* Rankings ที่สอดคล้อง

17.2.5