1.  หลักการและเหตุผล

     การจัดอบรมการนวดในครั้งนี้เพื่อให้ประชาชนสามารถเรียนรู้และนำความรู้มาใช้แก้อาการปวดกล้ามเนื้อได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องพึ่งยาแผนปัจจุบันเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างสอดคล้องกับขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งสร้างความสัมพันธ์อันดีงามในครอบครัวและชุมชนนอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพเสริมและช่วยเหลือผู้ว่างงานหลังจากจบหลักสูตรนวดเพื่อส่งเสริมสุขภาพ สามารถนำไปประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมได้โดยไม่ต้องใช้เงินลงทุนมาก

2.  หน่วยงานที่รับผิดชอบ

โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล 402/1 หมู่ 5 ต. เขาทอง  อ.พยุหะคีรี  จ.นครสวรรค์ 60130

3.  วัตถุประสงค์

3.1   เพื่อศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย

3.2  เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพเสริมและช่วยเหลือผู้ว่างงานให้มีความรู้และมีทักษะ

3.3  เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้ในด้านการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ

3.4  เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีงามในครอบครัวและในชุมชน

4.  กลุ่มเป้าหมาย

บุคลากรด้านสาธารณสุขและประชาชนที่สนใจ จำนวน 30 คน

5.  วิธีการดำเนินงาน

      5.1 เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ

5.2 เชิญวิทยาการและผู้เข้าอบรม

5.3 จัดทำเอกสารประกอบการอบรม

5.4 ประเมินผลการอบรม

6.   สถานที่จัดอบรม

โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์มหาวิทยาลัยมหิดล ต. เขาทอง อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์

7.  ระยะเวลาการดำเนินงาน

ประมาณเดือน กุมภาพันธ์ –  มีนาคม  ของทุกปี

8.  รูปแบบการจัดการเรียนการสอน

8.1  ภาคความรู้ทฤษฎี

8.2  ภาคฝึกปฏิบัติจริง

9.  การวัดผลและการสำเร็จการฝึกอบรม

9.1  เข้าฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของชั่วโมงการฝึกอบรม

9.2  สอบผ่านทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

10.  ผลที่คาดว่าจะได้รับ

10.1  ผู้เข้ารับการอบรม มี คุณธรรม ศีลธรรม และจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ

10.2  ประชาชนที่สนใจมีความรู้และทักษะในการนวดแผนไทย

11.  ค่าลงทะเบียน

ค่าลงทะเบียนอบรม ท่านละ 3,500 บาท ทั้งนี้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเบิกค่าลงทะเบียนและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง พ.ศ. 2552

12.  คุณสมบัติของผู้เรียน

12.1  มีอายุไม่น้อยกว่า 20 ปีบริบูรณ์

12.2  ไม่มีความประพฤติเสียหายอันนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ

12.3  ไม่เป็นผู้ติดยาเสพติดให้โทษ

13.  วิทยากร โดย

13.1  นางรวีวรรณ  ตันสุวัฒน์  (พยาบาลวิชาชีพ)

13.2  นายเสริมพงษ์  คุณาวงศ์  (นักวิชาการศึกษา)

13.3  นางพิมพ์ชนก  ศรศิริวัฒน์ (แพทย์แผนไทย)

13.4  นางสาวเกสร  ราศรีชัย (แพทย์แผนไทยประยุกต์)

13.5  นางสาวพัทธนันท์  กวางไทร (ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย)

13.6  นางประทุม  รังผึ้ง  (ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย)

หมายเหตุ   ผู้ที่เรียนจบแล้วสามารถนำใบประกาศมาเรียนต่อหลักสูตรผู้ช่วยแพทย์แผนไทย 330 ชั่วโมงได้ (เรียนเพิ่มเติมอีก 180 ชั่วโมง)ประมาณเดือนกรกฎาคม

เว็บไซต์ของโครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล ใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้และใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่งบอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็นต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถเลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้ที่จำเป็น คือคุกกี้ที่จำเป็นต้องมีเพื่อให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้มั่นใจถึงฟังก์ชันพื้นฐานและคุณลักษณะด้านความปลอดภัยของเว็บไซต์ รวมถึงเครื่องมือในรูปแบบฟอร์มรับข้อมูลที่ใช้บนเว็บไซต์

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์/เพื่อประสิทธิภาพ คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้เราจดจำและนับจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์และทราบว่าผู้เข้าชมไปยังหน้าต่าง ๆ ในเว็บไซต์อย่างไร สิ่งนี้จะช่วยให้เราปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้นได้ในอนาคต ตัวอย่างเช่น ทำให้ผู้ใช้งานพบสิ่งที่ต้องการเข้าถึงได้ง่ายขึ้น

Save
*/ //]]>